เกี่ยวกับโรค

ไข้ ซิกา (Zika Fever) น่ากลัวไหม

โรคไขซิก้า (Zika fever) เกิดจาการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus-ZIKV) ไวรัสที่มีสารพนธั ุกรรมชนิด อาร ์เอ็นเอสายเดี่ยว อยู่ในตระกูลเฟลวิไวรัส (flavivirus) มีลกษณะคล้ายคลึงกบั ไวรัสไขเหลือง ไวรัสเดงกี, ไวรัสเวสตไนล์และไวรัสไขสมองอักเสบเจอี มียงลาย ุ ( เช่น Ae. Africanus, Ae. Apicoargenteus, Ae. Luteocephalus, Ae. Aegypti เป็ น ต้น) เป็ นพาหะนาโรค ํ ไวรัสซิกาถูกแยกเชื้อคร้ังแรกในปีพ.ศ. ๒๔๙๐ (ค.ศ. ๑๙๔๗) จากน้ าเหลืองของลิง rhesus

ไข้หวัดซิก้า
ภาพจาก https://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&ved=0ahUKEwjThKze_brKAhVSj44KHVXtCWIQjB0IBg&url=http%3A%2F%2Fwww.dmsc.moph.go.th%2Fdmscnew%2Fnews1.php%3Fcid%3D1&psig=AFQjCNEoAzdvC_2DFLc7bUCguxbC4_dbJw&ust=1453468357143864 ไข้หวัดซิก้า

ที่ใชในการศึกษาไขเหลืองในป่าชื่อซิกา ประเทศยกูนดาและแยกเชื้อ ได้จากคนในปีพ.ศ. ๒๕๑๑ (ค.ศ. ๑๙๖๘) ณ ประเทศไนจีเรีย มีระยะฟักตัว ๔-๗ วัน จากน้นจะมีอาการ ไข้ปวดศีรษะรุนแรง มีผื่นแบบ maculopapular ที่บริเวณลำตัว แขนขา, วิงเวียน , เยื่อบุตาอกเสบ ตาแดง ปวดข้อ อาจจะมีอาการต่อมน้ำเหลืองโต และอุจจาระร่วง ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๕๓๕ มีขอบ่งชี้ทางน้ำเหลืองวิทยาว่ามีการติดเชื้อไวรัสซิกา ในประเทศกลุ่มแอฟริกา ไดแก่ยกูนด้า , แทนซาเนีย, อียิปต, แอฟริกากลาง สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน และกาบอง ในส่วนของเอเชียมีรายงานพบใน ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ไทย, เวียดนามและอินโดนีเซีย ล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ไดรายงานการ ้ ระบาดของไขซ้กา ในหมู่เกาะแยป ในประเทศไทย มีผูรายงานว่าตรวจพบแอนติบอดีชนิดทาลายล ํ างไวร ้ ัสซิกา ในผูท้ ี่อาศัยในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๖ (ค.ศ. ๑๙๖๓) และล่าสุด มีรายงาน ผู้ป่วยหญิงนกท่องเที่ยวจากแคนาดา ซึ่งเดินทางมาประเทศไทยในช่วงเวลา ๒๑ มกราคม-๒ กุมภาพนธั ์๒๕๕๖ และมีอาการภายหลงจากเด ั ินทางกลบถึงประเทศแคนาดาเป็นเวลา ๔ วัน โดยเริ่มป่วย วันที่ ๕ กุมภาพนธั ์๒๕๕๖ มีอาการไข้อ่อนเพลีย ปวดศีรษะกระสับกระส่าย หนาวสั่ น คลื่นไส้อาเจียน ปวดหลัง และปวดข้อ ได้รับการตรวจทางหองปฏิบัติการยืนยั นการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) ซึ่งขณะนี้กรมควบคุมโรคยงเฝั ้าระวงโรคนี้อยู่ การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยนการติดเชื้อ ทาได ้๒ วิธีดังนี้๑)การตรวจหาสารพันธุกรรม ดวยวิธี พีซีอาร์เก็บตัวอย่ างน้ำเหลืองเร็วที่สุดหลงจากที่ เริ่มมีอาการเจ็บป่วย ซ่ึงไม่ควรเกิน ๙ วนหลังมีอาการ และ ๒) การตรวจหา แอนติบอดีชนิดเอ็มที่จาเพาะต ํ ่อไวรัสซิกาดวยวิธีอิไลซ่า ซึ่งเป็นพฒนาวิธีโดย ศูนยควบคุมและป้องกนโรคสหรัฐอเมริกา โดยเก็บตวอย่าง ๒ คร้ังคร้ังแรกในวันที่เริ่มมีอาการ และตัวอย่างที่สองห่างจากตวอย่างแรก 2-3 สัปดาห์ ซึ่งสถาบนวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขโดยฝ่ายอาโบไวรัส มีแผนการที่จะติดตั้งวิธีการตรวจวินิจฉยทางห้องปฏิบัติโรคไข้ซิก้าในเร็วๆนี้ ปัจจุบนี้ ยังไม่ มีวัคซีนป้องกันเฉพาะ การรักษาจะรักษาตามอาการเพื่อบรรเทาการเจ็บป่วย ฝ่ายอาโบไวรัส สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

Sending
User Review
0 (0 votes)